ผู้เขียน หัวข้อ: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ  (อ่าน 17160 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ weerawat26

  • สมาชิก
  • *****
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 39
  • กระทู้: 1103
  • พลังน้ำใจ 39
Re: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ
« ตอบกลับ #30 เมื่อ: เมษายน 03, 2012, 08:52:57 am »
การตั้งนามฉายาพระภิกษุ ทำได้ 4 ลักษณะครับ โดยดูจาก
1.วันเกิด / (หลวงพ่อกวยเกิดวันพุธ ช่วงเวลา 24.00 นาฬิกา 1 วินาที ถึง 05.59 นาฬิกา 59 วินาที) ชุตินฺธโร ช.ช้าง นำ เป็นมูละ = ทรัพย์สิน ร่ำรวย ความเจริญรุ่งเรือง ร.เรือ ปิดท้าย เป็นบริวาร ที่ตามมาครับ อักษรแต่ละตำแหน่งมีความสำคัญมาก ๆ)
2.วันบวช / (หลวงพ่อกวย บวชวันที่ 5 กรกฎาคม 2468 ตรงกับวันอาทิตย์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ปี ฉลู ตรงกันวันอาฬหบูชา ไม่น่าเกี่ยวกับนามฉายา)
3.ชื่อ / (ชื่อเดิม นายกวย ปั้นสน คำว่า กวย แปลว่า ตะกร้า (ภาษาท้องถิ่น) หรือ อีกความหมายหนึ่ง เป็นชาติ ข่า ในตระกูลมอญ ไม่น่าเกี่ยวข้อง)
4.ชื่อ และนามสกุล รวมกัน / ( ชื่อเดิม กวย ปั้นสน ไม่น่าจะเกี่ยวข้อง เช่นกัน )
ส่วนย่อยอื่น ๆ ก็มีครับ เช่น พิจารณาให้คล้ายหรือผสมกับชื่อและฉายาพระอุปฌาย์ (อาจจะมีส่วน คือ พระชัยนาทมุนี = ชุตินฺธโร)


แต่ผมเชื่อว่า หลวงพ่อกวยท่านเกิดในวันพุธแน่นอน ซึ่งท่านเขียนด้วยตัวท่านเอง และ เกิดในช่วงคืนวันพุธ เวลา หลังเที่ยงคืน จนถึงก่อนหกโมงเช้าวันพฤหัสบดี ในหลักฐานการบันทึกทางราชการก็เป็นเหตุให้สนับสนุนเช่นกัน คือ ช่วงเวลานี้จะบันทึกเป็น วันที่ 2 พฤศจิกายน 2448 ครับ
หมายเหตุ อักษร ช.ช้าง เป็นกาลกิณี ของวันพฤหัสบดี  ;)

และผู้ที่บูชาพระหลวงพ่อกวย จะมีความเจริญรุ่งเรืองด้วย มูละ คือ ช.ช้าง นำหน้านามฉายา และมากมายด้วย บริวาร คือ ร.เรือ ปิดท้าย ครับผม
 ;D

สมัยก่อน นั้น การจดบันทึกคงจะยากนะครับที่จะจดเป็นโมงเป็นนาทีได้อย่างละเอียดเหมือนสมัยนี้ ยิ่งสมัยก่อนคลอดกับหมอตำแยด้วยแล้วการจดบันทึกคงจะต้องใช้ประมาณเอา เช่นเกิดเวลาพระบิณฑบาต เป็นต้น การจดมักจดว่าเกิดวันอะไร ขึ้นแรมเท่าไหร่ เดือนอะไร ปีอะไร การตั้งนามฉายาของพระสงฆ์ไม่น่าจะมีอะไรซับซ้อนมากนัก เพราะ ส่วนใหญ่ทั่วประเทศมักนิยมใช้อักษรวรรคบริวารคือวันเกิดนำมาใช้ขึ้นต้นนำหน้าชื่อ ช ช้าง เป็นอักษรวรรคอังคาร ถือว่าเป็นอักษรวรรคกาลกิณีของวันพุธ ข้อนี้เองที่ทำให้ผมสงสัย ผมเองก็เชื่อว่าหลวงพ่อท่านเกิดวันพุธเพราะท่านเป็นผู้เขียนด้วยลายมือของท่านเอง แต่มีเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ อีกเรื่องหนึ่งนั่นก็คือ วิชาหนุมาน ของท่านนั้นเป็นที่กล่าวขานถึงก็น่าสนใจนะครับว่า หนุมาณ นั้นเกิดวันอังคาร ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๓ ปีขาล

ขอบคุณ คุณโอ๋มากนะครับที่มาร่วมแชร์

ออฟไลน์ weerawat26

  • สมาชิก
  • *****
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 39
  • กระทู้: 1103
  • พลังน้ำใจ 39
Re: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ
« ตอบกลับ #31 เมื่อ: เมษายน 03, 2012, 09:53:02 am »
หลวงพ่อท่านยังเขียนไว้ได้เพียงแค่ พ.ศ.๒๔๔๘ เท่านั้นเอง ท่านมิได้จดว่าท่านเกิดวันที่เท่าไร เดือนอะไร คนสมัยก่อนที่เกิดก่อน พ.ศ.๒๕๐๐ มักจะระบุไว้เพียงแค่ปี พ.ศ.ไว้เท่านั้น เพราะข้อมูลข่าวสาร การจดบันทึกไม่ทันสมัยสมบูรณ์เหมือนยุคหลังปี พ.ศ.๒๕๐๐ ดันนั้น หลวงพ่อท่านจึงจดเอาไว้แต่เพียงว่า ท่านเกิดวันพุธ เดือน ๑๒ ปีมะเส็ง พ.ศ.๒๔๔๘ เท่านั้น หาดแต่เพียงขึ้นแรม และเวลาตกฟากเท่านั้น

ออฟไลน์ โก้ จีนสาตร์

  • สมาชิก
  • *****
  • Thank You
  • -Given: 1
  • -Receive: 6
  • กระทู้: 3191
  • พลังน้ำใจ 7
  • อยากคุยกันติดต่อได้ที่เบอร์ 081-5552409 (โก้ครับ)
Re: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ
« ตอบกลับ #32 เมื่อ: เมษายน 03, 2012, 10:15:48 am »
:) :) :) เข้ามาดูครับ ผมไม่เป็นเลยเรื่องชื่อ อักษร
"ศิษย์เปรียบได้เท่ากับลูก อาจารย์เปรียบได้เท่ากับพ่อแม่ กูอนุญาตให้พวกมึงไปฆ่าศิษย์กูไม่ได้ แต่ถ้าวันใดมันไม่นับถือกูแล้ว หลงลืมกูแล้ว มันต้องตาย
"
นี้คือคำพูดของหลงพ่อกวย

ออฟไลน์ weerawat26

  • สมาชิก
  • *****
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 39
  • กระทู้: 1103
  • พลังน้ำใจ 39
Re: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ
« ตอบกลับ #33 เมื่อ: เมษายน 03, 2012, 10:29:45 am »
:) :) :) เข้ามาดูครับ ผมไม่เป็นเลยเรื่องชื่อ อักษร

http://203.131.210.88/lartswiki/lib/exe/fetch.php?media=am.pdfลองอ่านศึกษาดูครับ

ออฟไลน์ weerawat26

  • สมาชิก
  • *****
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 39
  • กระทู้: 1103
  • พลังน้ำใจ 39
Re: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ
« ตอบกลับ #34 เมื่อ: เมษายน 03, 2012, 10:30:52 am »

กระดานสนทนาเว็บไซต์ ศิษย์หลวงพ่อกวย

Re: เล็กๆ น้อย ๆ กับข้อสังเกตเกี่ยวกับหลวงพ่อ
« ตอบกลับ #34 เมื่อ: เมษายน 03, 2012, 10:30:52 am »

 


Facebook Comments