ผู้เขียน หัวข้อ: หลวงพ่อโอ อินทโชโต วัดหางน้ำหนองแขม อภิญญาจารย์ที่โลกเกือบลืม  (อ่าน 31600 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 6 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ SODA 405

  • สมาชิก
  • *****
  • Thank You
  • -Given: 47
  • -Receive: 7
  • กระทู้: 6369
  • พลังน้ำใจ 7
  • ....เก็บ,สะสม,อนุรักษ์.

     สวยครับ!

ออฟไลน์ ฝุ่นดิน

  • ที่ปรึกษาเว็บไซต์
  • สมาชิก
  • *
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 2
  • กระทู้: 668
  • พลังน้ำใจ 2
  • ฝุ่นดินท้องถิ่นนิยม 084-7208460
ชุดรูปหล่อและเหรียญตอนนี้ไปไกลแล้วครับ เลยซุ่มเก็บเครื่องรางคลาสสิคๆที่ถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของเครื่องรางเมืองชัยนาทอีกชิ้นหนึ่งเลยละครับ เก็บมานานปีก็ได้แค่ 4 เองครับ ตอนนี้ถูกแบ่งไปแล้ว 3

ออฟไลน์ ฝุ่นดิน

  • ที่ปรึกษาเว็บไซต์
  • สมาชิก
  • *
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 2
  • กระทู้: 668
  • พลังน้ำใจ 2
  • ฝุ่นดินท้องถิ่นนิยม 084-7208460
ตามมาด้วยรองแชมป์ ซึ่งเจ้ากรมหลวงพ่อโอท่านหนึ่งซึ่งเป็นคนต่างถิ่น แต่ศรัทธาแนบแน่นนิมนต์เข้าชุดสะสมไปแล้ว อยู่กับผู้ที่เห็นค่า ย่อมเกิดประโยชน์ครับ

ออฟไลน์ ฝุ่นดิน

  • ที่ปรึกษาเว็บไซต์
  • สมาชิก
  • *
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 2
  • กระทู้: 668
  • พลังน้ำใจ 2
  • ฝุ่นดินท้องถิ่นนิยม 084-7208460
อ้าว..ตัวแชมป์ยังไม่ได้ถ่ายรูปครับ ไว้ฤกษ์งามยามดีค่อยได้ยล

ออฟไลน์ ฝุ่นดิน

  • ที่ปรึกษาเว็บไซต์
  • สมาชิก
  • *
  • Thank You
  • -Given: 0
  • -Receive: 2
  • กระทู้: 668
  • พลังน้ำใจ 2
  • ฝุ่นดินท้องถิ่นนิยม 084-7208460
วันนี้มาตั้งข้อสังเกต เหรียญหล่อเม็ดแตงรุ่นแรกของหลวงพ่อกันครับ จากการพิจารณาทำให้เห็นข้อแตกต่างดังนี้ครับ
       องค์ที่ 1 อกตั้ง ขาซ้ายทับขาขวา องค์พระค่อนข้างบาง วงพระพักตร์เล็กเรียบปรากฎพระเนตรและนาสิกแต่เพียงผิวเผิน พระเกศเล็ก
       องค์ที่ 2 อกตั้ง ขาซ้ายทับขวา องค์พระค่อนข้างบาง เช่นเดียวกับองค์ที่ 1 ซึ่งน่าจะเป็นแม่พิมพ์เดียวกัน แต่ถูกแต่งพิมพ์เพิ่มเติมในภายหลัง จึงทำให้องค์ที่ 2 นี้มีข้อแตกต่างจากองค์ที่ 1 อยู่บ้างเช่น วงพระพักตร์ใหญ่ขึ้น ปรากฎพระเนตรและพระนาสิกชัดเจนขึ้น พระเกศใหญ่
       องค์ที่ 3 อกกลม ปรากฎเส้นริ้วจีวรและสังฆาฏิ ขาขวาทับขาซ้าย องค์พระค่อนข้างหนา ปรากฎพระเนตรและพระนาสิกเด่นชัด พิมพ์นี้น่าจะเป็นคนละแม่พิมพ์กันกับองค์ที่ 1 และ 2 ดูจากศิลปะการแกะก็ไม่ใช่ช่างแกะคนเดียวกัน กายวิภาคต่างกัน
       ด้วยเหตุฉะนี้จึงเป็นประเด็นขึ้นมาว่าพระพิมพ์นี้อาจจะมีมากกว่า 3 พิมพ์ เพราะเมื่อปรากฎฝีมือช่างถึง 2 ฝีมือทำให้คิดต่อไปได้ว่าการสร้างพระชุดนี้น่าจะเน้นในด้านปริมาณด้วยจึงทำแม่พิมพ์สำหรับเทพระมากกว่า 1 พิมพ์ แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีใครพิจารณาแยกแยะให้เป็นกิจจะลักษณะเสียที คงต้องช่วยๆกันครับ นักอนุรักษ์นิยมสายชัยนาทท่านใดมีพิมพ์นี้อยู่ลองสังเกตแล้วแสดงความเห็นกันครับ

กระดานสนทนาเว็บไซต์ ศิษย์หลวงพ่อกวย


 


Facebook Comments